WTF Visualization : Ugly Pie Chart (5)
WTF : Denmark has the best work-life balance. Here’s why
(Source : https://www.weforum.org/agenda/2017/03/denmark-best-work-life-balance-oecd/)
จากบทความได้กล่าวว่าประเทศ Denmark เป็นประเทศที่มี Work life balance ที่ดีกว่าประเทศอื่นๆ จากผลสำรวจของ OECD Better Life Report โดยมีแค่ 2% เท่านั้นที่มีชั่วโมงทำงานยาวนานเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยจาก OECD ที่เท่ากับ 13% และไม่ใช่แค่เรื่องการทำงาน ประเทศ Denmark ยังมี rank เหนือค่าเฉลี่ยด้านอื่นๆ ได้แก่ คุณภาพสิ่งแวดล้อม การศึกษา ทักษะ อาชีพ รายได้ ความเป็นอยู่ ความปลอดภัย และสังคม
ในปี 2013 ประเทศ Denmark ได้อับดับ 1 ใน World Happiness Report หล่นลงเป็นอันดับ 3 ในปี 2015 และกลับมาเป็นอันดับ 1 อีกครั้งในปี 2016
จากบทความได้กล่าวว่าประเทศ Denmark เป็นประเทศที่มี Work life balance ที่ดีกว่าประเทศอื่นๆ จากผลสำรวจของ OECD Better Life Report โดยมีแค่ 2% เท่านั้นที่มีชั่วโมงทำงานยาวนานเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยจาก OECD ที่เท่ากับ 13% และไม่ใช่แค่เรื่องการทำงาน ประเทศ Denmark ยังมี rank เหนือค่าเฉลี่ยด้านอื่นๆ ได้แก่ คุณภาพสิ่งแวดล้อม การศึกษา ทักษะ อาชีพ รายได้ ความเป็นอยู่ ความปลอดภัย และสังคม
ในปี 2013 ประเทศ Denmark ได้อับดับ 1 ใน World Happiness Report หล่นลงเป็นอันดับ 3 ในปี 2015 และกลับมาเป็นอันดับ 1 อีกครั้งในปี 2016
Graphic Elements :
1. สัดส่วนวงกลม คือ องค์ประกอบย่อยของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index)
2. สี คือ องค์ประกอบของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index)
3. สัญลักษณ์ คือ องค์ประกอบของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index)
4. ความยาวเส้นตรง คือ คะแนนของชีวิตที่ดีกว่า
4. ความยาวเส้นตรง คือ คะแนนของชีวิตที่ดีกว่า
Graph Discussion :
จากรูปภาพเป็นการทำ Data Visualization โดยใช้เทคนิค Pie Chart แต่เป็นการทำ Pie Chart ที่ไม่เป็นไปตามหลักการโดยปกติ กล่าวคือ โดยปกติพื้นที่ใต้วงการจะแสดงให้เห็นถึงสัดส่วนของค่านั้น ๆ แต่จากภาพข้างต้นพื้นที่วงกลมไม่ได้แสดงถึงสัดส่วนของค่านั้น ๆ แต่เป็นการแสดงถึงองค์ประกอบย่อยของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) ซึ่งไม่ได้สะท้อนค่าที่เป็นตัวเลข นอกจากนั้นยังมีการใช้ Graphic Element ที่สิ้นเปลืองเกินความจำเป็น เช่น Graphic Element แทนองค์ประกอบของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) ได้แก่ ตัวอักษร สัญลักษณ์ และสี ส่วนการใช้ความยาวของเส้นที่ใช้แทนคะแนนของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) ไม่มีความเหมาะสม เนื่องจากแต่ละเส้นอยู่บนฐานของวงกลมซึ่งไม่ได้อยู่บนฐานพื้นราบที่มีขนาดเท่ากัน ทำให้ไม่สามารถเปรียบเทียบความมากกว่า/น้อยกว่าได้จากตาเปล่า
Redesign :
เนื่องจาก 11 องค์ประกอบของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) มีหน่วยต่างกันทำให้การนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกันทำได้ยาก ดังนั้นควรทำการ Normalize ข้อมูลซึ่งทำโดย Normalize ข้อมูลจากประเทศใน OECD จำนวน 34 ประเทศ เพื่อให้ค่าที่ได้อยู่ระหว่าง 0-10 (Cantril ladder) จะได้เปรียบเทียบแต่ละองค์ประกอบได้ และควรนำเสนอด้วยเทคนิค Bar Chart โดยแบ่งแป็น 11 องค์ประกอบของดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) โดยใช้สีที่แตกต่างกัน (Contrast สูง) ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยซึ่งจะใช้สีโทนเดียวกันเพื่อให้เห็นข้อมูลเป็นลักษณะกลุ่ม สามารถแสดงออกเป็นรูปภาพได้ ดังนี้
จากการ Redesign ได้ใช้ Bar Chart แทนคะแนนดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) โดยกราฟแม่แสดงให้เห็นถึงคะแนนดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) ของประเทศเดนมาร์ก และกราฟเส้นแสดงให้เห็นถึงค่าเฉลี่ยคะแนนดัชนีชีวิตที่ดีกว่า (Better Life Index) ของประเทศ OECD จำนวน 34 ประเทศ โดยแต่ละดัชนีคือตัวแปรดังนี้
Index 1 Income and Wealth
Index 1.1 Net household adjusted disposable income
Index 1.2 Net household financial wealth
Index 2 Jobs and Earning
Index 2.1 Employment rate
Index 2.2 Average annual gross earnings per full-time employee
Index 2.3 Labour market insecurity
Index 2.4 Long-term unemployment rate
Index 3 Housing
Index 3.1 Rooms per person
Index 3.2 Housing expenditure
Index 3.3 Dwellings without basic sanitary facilities
Index 4 Work-Life Balance
Index 4.1 Employees working very long hours
Index 4.2 Time devoted to leisure and personal care
Index 5 Health Status
Index 5.1 Life expectancy at birth
Index 5.2 Perceived health status
Index 6 Education and Skills
Index 6.1 Educational attainment of the adult working-aged population
Index 6.2 Expected years in education
Index 6.3 Cognitive skills of 15 year old students
Index 7 Social Connections
Index 7.1 Perceived social network support
Index 8 Civic Engagement and Governance
Index 8.1 Stakeholder engagement for developing regulations
Index 8.2 Voter turnout
Index 9 Environmental Quality
Index 9.1 Satisfaction with water quality
Index 9.2 Air pollution
Index 10 Personal Security
Index 10.1 Homicides rates
Index 10.2 Feeling safe walking alone at night
Index 11 Subjective Well-Being
Index 11.1 Life evaluation (Gallup World Poll)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น